Sunday, September 23, 2012

เพลง ประชาธิปไตย...รำพัน


ประชาธิปไตย...รำพัน

        *  80 ปี ไทยเรามี ประชาธิปไตย....(ลูกคู่... ดียังไง)
ชนชาวไทย ต่างดีใจ ฉลองทั่วหล้า./././  80 ปี ถ้าเป็นคน ก็แก่ชรา...../        แต่ทำไม เล่าหนา..........////   ไม่ก้าวหน้า...ไปไหน......
 *  เพราะคนไทย ไร้ทิศทาง ไม่สามัคคี... (ลูกคู่... จริงๆ ซี)  ต่างชิงดี แบ่งเป็นสี อำมาตย์และไพร่... เดินขบวน  ป่วนเรียกร้อง กันอยู่ร่ำไป...../  80 ปี ผ่านไป...ประชาธิปไตย .... เหมือนไม่มี
 *  ขอคนไทย มีน้ำใจ อภัยให้กัน..... (ลูกคู่... ความปรองดอง)  รัฐบาล และฝ่ายค้าน ต้องทำหน้าที่....  ม็อบทั้งหลาย จงสลาย เลิกแบ่งสี.... ครบ 80 ปี......./  เป็นซะที ประชาธิปไตย
(SOLO …พูด)  คณะราษฎร์ ยึดอำนาจ  จากพระมหากษัตริย์  แล้วประกาศ เป็นประชา....ธิปไตย....  80 ปี ยังวนเวียน ไม่ไปไหน  18 ฉบับผ่านไป ยังต้องเปลี่ยนใหม่  รัฐธรรมนูญ
(SOLO …เริ่มต้น ทั้งหมด)
เนื้อร้องโดย  อ. ศาสน์  เมืองสรรค์
ลิขสิทธิ์ของ  มูลนิธิเบาะแส
081 404 2002




Thursday, September 13, 2012

Model : แนวทางใหม่เพื่อคนไทยวันหน้า..........



Scale      : The accuracy or upright.
Spike     : To eat well-live well.
Handle   : To love and understand each other.


เส้นทางสู่           " สันติสุข "

เพิ่่มการศึกษา - ปรารถนาความจริงใจ - ไร้คอรัปชั่น - 

มุ่งมั่นสันติสุข - สงบสุขทุกครัวเรือน.


กฎความเป็นหนึ่งเดียว (the law of oneness) 

จึงเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งของความสำเร็จของการสื่อสารภายในองค์กร
และการสื่อสารสาธารณะหรือการสื่อสารสังคม
กฎสากลตามทฤษฎีความเป็นหนึ่งเดียว (oneness theory) มีอยู่ว่า

สรรพสิ่งที่จะเกิดขึ้น ดำรง ดำเนิน และวิวัฒน์เปลี่ยนแปลงไปได้ ก็

ต่อเมื่อมีการรวมตัวเป็นระบบหนึ่งเดียว
ความเป็นหนึ่งเดียวของทุกสรรพสิ่งมีการสื่อสาร 

(communication) หรือความเชื่อมโยงติดต่อ ระหว่างกัน 

(interconnectedness) เป็นพลังยึดเหนี่ยวส่วนต่างๆ ที่มีความแตก

ต่างให้อยู่ด้วยกัน กลายเป็นความเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่แตกต่าง

กัน (oneness of differences)   (สมควร กวียะ)

สังคมจะอยู่ได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยกลไกทางสังคม สองประเภท เพื่อที่จะให้สังคมนั้นดำรงอยู่ได้ คือกลไกด้านการปราบปราม( Repressive Apparatus ) และกลไกด้านอุดมการณ์ (Ideological Apparatus) กลไกทั้งสองประเภทนี้จะทำงานร่วมกันเพื่อให้สังคมสามารถสืบทอดตัวเองต่อไป (Gramsci, 2000, p. 115)

Pls. Wait